เลือกตั้ง 66 : ส่องนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ของ 10 พรรคการเมือง

สินค้าและบริการทั่วไป

ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน

ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์และเพื่อมาให้รัฐบาลชุดใหม่ได้เข้ามาแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้างต้น

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘สินค้าและบริการทั่วไป’ ของ 10 พรรคการเมือง สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการเงินการธนาคาร อย่างไรบ้าง…

การศึกษา

ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน

ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์และเพื่อมาให้รัฐบาลชุดใหม่ได้เข้ามาแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้างต้น

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘การศึกษา’ ของ 10 พรรคการเมือง สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการเงินการธนาคาร อย่างไรบ้าง…

อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน

ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์และเพื่อมาให้รัฐบาลชุดใหม่ได้เข้ามาแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้างต้น

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ’ ของ 10 พรรคการเมือง สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการเงินการธนาคาร อย่างไรบ้าง…

การเงินการธนาคาร

“ปัญหาสัญญากู้ยืมเงินที่ไม่เป็นธรรม ทวงหนี้ที่ผิดกฎหมาย คิดดอกเบี้ยเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ถูกฉ้อโกงในรูปแบบต่าง ๆ เงินหายไปจากบัญชีโดยไม่ทราบสาเหตุ” เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงและแพร่กระจายเป็นวงกว้าง เพราะการเงินเป็นเรื่องใกล้ตัว เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของทุกคน ซึ่งมาจากสาเหตุหลายประการ ทั้งจากตัวผู้บริโภคที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ ปัญหาจากผู้ประกอบการที่ขาดความรับผิดชอบและจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมายของภาครัฐที่ไม่เป็นธรรม ไม่เอาจริงเอาจัง …

และ ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน

ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์และเพื่อมาให้รัฐบาลชุดใหม่ได้เข้ามาแก้ไขและจัดการกับปัญหาข้างต้น

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘การเงินการธนาคาร’ ของ 10 พรรคการเมือง สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการเงินการธนาคาร อย่างไรบ้าง…

การขนส่งและยานพาหนะ

ปัจจุบันจำนวนรถสาธารณะ โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล สวนทางกับจำนวนยานยนต์ส่วนตัวที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้ประชาชนต้องดิ้นรนมียานพาหนะของตนเองหรือไม่ก็เผชิญกับความจริงที่เจ็บปวดกับบริการรถสาธารณะที่ไม่ทั่วถึง ไม่มีมาตรฐานและคุณภาพ ค่าโดยสารที่แพงเกินรายได้ หรือการบริการที่ไม่มีการพัฒนา ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหนก็ตาม

และ ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘การขนส่งและยานพาหนะ’ ของ 10 พรรคการเมืองที่ได้ออกนโยบายเพื่อมาแก้ไขและการจัดการกับปัญหาข้างต้น

สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการขนส่งและยานพาหนะ อย่างไรบ้าง…

อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย

ปัจจุบันวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนเริ่มเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะความต้องการที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคยุคใหม่เปลี่ยนไปจากบ้านหลัง ๆ ไปเป็นอาคารชุดหรือคอนโดมิเนียม ท่ามกลางการขยายตัวของสังคมเมืองแบบก้าวกระโดด และความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มมากขึ้น

แต่การลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์เพื่อซื้อบ้านจัดสรรหรืออาคารชุดในปัจจุบันถือเป็นการลงทุนสูงที่มีความเสี่ยงกับผู้บริโภค เนื่องจากที่ผ่านมาผู้บริโภคส่วนใหญ่ประสบปัญหา “อาคารชุด หรือบ้านจัดสรรไม่เป็นไปตามโฆษณา รวมถึงยังพบว่าสัญญาไม่เป็นธรรมอีกด้วย”

ปัญหาข้างต้นนี้นำมาซึ่งความเดือดร้อนให้ผู้บริโภค ซึ่งที่ผ่านมาสภาผู้บริโภคได้เสนอแนะนโยบายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความเป็นธรรมด้านสัญญา ไม่ถูกผู้ประกอบการเอาเปรียบ รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้ผู้บริโภค

และ ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย’ ของ 10 พรรคการเมืองที่ได้ออกนโยบายเพื่อมาแก้ไขและการจัดการกับปัญหาข้างต้น

สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านอสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย อย่างไรบ้าง…

บริการสุขภาพ

การรับบริการสุขภาพ การจัดบริการสุขภาพ โดยเฉพาะการจัดระบบหลักประกันสุขภาพ ถือเป็นหัวใจสำคัญในการรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนโดยรัฐ แต่จากสถานการณ์ปัญหาของผู้บริโภคในปัจจุบันกลับพบปัญหาการเข้าไม่ถึงระบบการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ ทั้งเรื่องความล่าช้า การเข้าไม่ถึงสิทธิการรักษาพยาบาล ตลอดจนความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบรักษาสุขภาพที่มีหลายระบบ ส่งผลให้ปัญหาเหล่านี้กลายเป็นประเด็นที่ต้องให้ความสำคัญ เพราะมีผู้บริโภคหลายคนที่ไม่สามารถเข้าถึงรักษาพยาบาลได้

ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาที่สภาผู้บริโภค ตระหนักและพยายามศึกษาข้อมูลเพื่อนำเสนอแนวทางแก้ไข รวมทั้งพยายามส่งเสริมเชิงนโยบายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพทั่วถึง และเท่าเทียม

อย่างไรก็ตาม ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์ผู้บริโภค

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘บริการสุขภาพ’ ของ 10 พรรคการเมืองที่ได้ออกนโยบายเพื่อมาแก้ไขและการจัดการกับปัญหาข้างต้น

สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการสุขภาพ อย่างไรบ้าง…

การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับเอสเอ็มเอสหลอกลวง และแก๊งคอลเซ็นเตอร์ ที่มีมูลค่าความเสียหายกว่า 1,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งทำลายไม่เฉพาะเศรษฐกิจของประเทศ แต่สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้บริโภค บางรายถึงขั้นล้มละลาย หรือฆ่าตัวตาย ขณะที่หน่วยงานกำกับดูแลหลักยังล้าหลังไม่เท่าทันกลลวง ไม่มีระบบที่มีประสิทธิภาพ และไม่รวมพลังป้องกันภัยให้ประชาชนได้อย่างเพียงพอ

อีกทั้งยังมีการนำข้อมูลส่วนตัวของผู้บริโภคมาข่มขู่ หลอกลวงเอาเงินจากบัญชี และเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวที่ถือเป็นการละเมิดสิทธิผู้บริโภคอีกด้วย และที่ผ่านมาสภาผู้บริโภคได้ศึกษาข้อมูล ข้อกฎหมาย และแสดงความคิดเห็น เพื่อยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคจากภัยต่าง ๆ เหล่านี้มาโดยตลอด

อย่างไรก็ตาม ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคจึงได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์ผู้บริโภค

ครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ’ ของ 10 พรรคการเมืองที่ได้ออกนโยบายเพื่อมาแก้ไขและการจัดการกับปัญหาข้างต้น

สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรบ้าง…

ด้าน ‘บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม’

ปัจจุบันผู้บริโภคกำลังเผชิญกับปัญหาราคาน้ำมัน ค่าไฟฟ้า รวมถึงปัญหาค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ ที่พุ่งสูงขึ้น สวนทางกับเศรษฐกิจที่ตกต่ำลงและกลายมาเป็นภาระของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง สภาผู้บริโภคจึงพยายามผลักดันประเด็นเหล่านี้ให้อยู่ในความสนใจของผู้บริโภคและได้ยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง

ทั้งการทำข้อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) กระทรวงพลังงาน และกระทรวงพาณิชย์กำกับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและราคาสินค้าให้เป็นธรรมต่อประชาชน ยุติการอนุมัติรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าใหม่เข้าระบบเพื่อลดภาระค่าไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายเพิ่ม ยุติการสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยให้มุ่งเน้นการจัดการพลังงานไฟฟ้าแบบอัจริยะทดแทน ชะลอการรับซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศทั้งหมด ทบทวนการทำแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย โดยให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

รวมถึงข้อเสนอที่ให้ส่งเสริมโครงการติดตั้งโซลาร์ภาคประชาชน โดยให้ใช้มาตรการคิดราคารับซื้อไฟฟ้าแบบหักลบหน่วยไฟฟ้าตามจริง (Net Metering) และลดอุปสรรคการเข้าสู่โครงการติดตั้งโซลาร์เซลล์บนหลังคาของประชาชน

ดังนั้น ในการเลือกตั้ง 2566 ที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้ สภาผู้บริโภคได้รวบรวมนโยบายของ 10 พรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งอ้างอิงมาจากการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคของสภาผู้บริโภคใน 9 ด้าน ได้แก่ 1) การขนส่งและยานพาหนะ 2) อสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย 3) การเงินและการธนาคาร 4) สินค้าและบริการทั่วไป 5) บริการสุขภาพ 6) บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 7) อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8) การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 9) การทำงานด้านการศึกษา เพื่อให้ผู้บริโภคมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกพรรคที่ตอบโจทย์ผู้บริโภค

ในครั้งนี้เป็นการรวบรวมและคัดเลือกนโยบายในด้าน ‘บริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม’ ของ 10 พรรคการเมืองที่ได้ออกนโยบายเพื่อมาแก้ไขและการจัดการกับปัญหาข้างต้น สภาผู้บริโภคชวนทุกคนตามไปดู ตามไปอ่าน นโยบายของพรรคการเมืองด้วยกันว่าแต่ละพรรคจะมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม อย่างไรบ้าง…


*ทั้งนี้ นโยบายข้างต้นเป็นข้อมูลจากการรวบรวมและคัดเลือกของสภาผู้บริโภค ณ วันที่ 24 เม.ย. 66 หากมีข้อมูลผิดพลาดหรือต้องการให้เพิ่มเติมนโยบายของพรรคใดเพิ่มเติม สามารถแจ้งมาที่สภาผู้บริโภค

#สภาองค์กรของผู้บริโภค #สภาผู้บริโภค #ผู้บริโภค